พุยพุย พุยพุย พุยพุย พุยพุย พุยพุย

The value of the portfolio Science Experiences Management for Early Childhood



The value of the portfolio Science Experiences Management for Early Childhood



วันจันทร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 7
วันอังคาร ที่ 20 กันยายน 2559
เวลาเรียน 13.30 -17.30
ความรู้ที่ได้รับ
    อาจารย์ได้แจกกระดาษ A4 คนล่ะ หนึ่งแผ่น และสีเมจิกคนล่ะหนึ่งด้าม ที่จะนำเอาไปวาดรูปฝามือของตัวเอง เมื่อเราทามฝามือและขีดเสร็จเรียบร้อยแล้วจากนั้นก็จะเป็นการตีเส้นตรง


   จากการวาดภาพอาจารย์จะซื่อให้เห็นว่าการที่จะให้เด็กเล่นไม่ได้ให้เล่นแค่ของเล่นแต่นำสิ่งรอบตัวมาให้เด็กเล่นก็ได้จะได้รู้จักการประยุกตุ์ใช่ในชิวิตประจำวัน

 



 ตัวอย่างของเล่นที่อาจารย์นำมา
 

 



แรงหนีศูนย์กลางและมีเรื่องของแรงพยุง
  จุดศูนย์ถ่วง
  ความหนาแน่น
  แรงยืดหยุ่น
  อากาศมีแรงดันทำให้วัตถุเคลื่อนที่ อากาศมีแรงดันเมื่อเป่า
 เป็นต้น

ตัวอย่างการทดลองของอาจารย์ที่นำมา

จากการทดลอง น้ำพุ เมื่อถือที่สูง น้ำก็จะไหลจากที่สูงลงที่ต่ำ

จากการทดลองคือการใช้กรวยนำน้ำมาใส่เพื่อดูว่าน้ำรักษาระดับไหลจากที่สูงไปสู่ที่ต่ำ 





จากการการทดลอง ตัดดอกไม้แล้วพับเป็น 4 แล้วนำไปลอยน้ำดอกไม่จะค่อยๆบานจนจมไปเองค่ะ

การประยุกต์ใช้

    ทำให้เด็กตั้งสมมติฐานคาดการณ์หลังจากนั้นก็จะทดลองและได้ลงมือทำจริงได้แก้ไขปัญหาเองและหาทางออกได้เองค่ะ

การประเมิน

ผู้สอน
     อาจารย์นำอุปกรณ์การทดลองมาให้นักศึกษาได้ทดลองจริงและทำให้เข้าใจมากกว่าที่อาจารย์อธิบายอย่างเดียว

ตัวเอง
   ตั้งใจทำงานและฟังอาจารย์ตลอดแต่บางครั้งมีเล่นบาง

เพื่อน
  เพื่อนๆตั้งใจเรียนและทำกิจกรรมอย่างมีความอยากรู้อยากเห็นค่ะ


การบันทึกครั้งที่ 6
วันอังคาร ที่ 13 กันยายน 2559
เวลาเรียน 13.30 -17.30
ความรู้ที่ได้รับ

-ในช่วงต้นชั่วโมงอาจารย์ได้ให้นักศึกษาแต่ละคนคัดตัวอักษรไทยตัวกลมหัวเหลี่ยม

วันนี้เรียนเกี่ยวกับมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย

มาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต
สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่
สาระที่ 5 พลังงาน 
สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

 



 
 
 - พอเรียนเสร็จอาจารย์เปิดวิดีโอเรื่องแสงให้ดูต่อค่ะ
ความรู้ที่ได้จากการดูวิดีโอเรื่องแสงคือ 
วัตถุโปรงแสง แสงผ่านไปบางส่วนเท่านั้น
วัตถุโปร่งใส เป็นวัตถุที่แสงผ่านไปได้ทั้งหมดทำให้เรามองเห็นได้
วัตถุทึบแสงแสงผ่านไม่ได้

การประยุกต์ใช้
    ในการดูวีดีโอเราสามารถทำของทดลองมาให้เด็กดูคู่ไปด้วยเพื่อนความเข้าใจของเด็กและเด็กๆจะได้ลงมือทำเอง
การประเมิน
วันนี้เรียนไปคิดว่าดิฉันสามารถนำไปใช่ได้จริงค่ะ
ผู้สอน
   อาจารย์ได้อธิบายเรื่องแสง การทดลอง ให้นักศึกาาได้ฟังชัดเจนและค่อยถามอยู่ตลอดค่ะ
ดูวิดิโอที่เกี่ยวข้องกับแสงและได้นำไปคิดต่อยอดอีกด้วย
เพื่อน
   เพื่อนๆตั้งใจเรียนและตอบคำถามที่อาจารย์ถามได้พอสมควรค่ะ







การบันทึกครั้งที่ 5
วันอังคารที่ 6 กันยายน 2559
เวลาเรียน 13.30 - 17.30 น
ความรู้ที่ได้รับ
  วันนี้อาจาย์ให้ดูวีดีโอเรื่องอากาศมหัศจรรย์
        อากาศคือสิ่งที่อยู่รอบตัวเรา ลืมคืออากาศที่เคลื่อนที่  อากาศมีน้ำหนักที่ต่างกันขึ้นอยู่กับสภาพบริเวณนั้นๆ ถ้าอากาศร้อนน้ำหนักจะเบากว่าอากาศเย็น 

  การทดลองในวิดีโอ

         เอากระดาษไปปิดไว้ที่ปากแก้วน้ำแล้วคว่ำลงกระดาษจะไม่ล่วงลงมาจนกว่าน้ำจะแซกเข้าไปในกระดาษจนกระดาษจะรับน้ำหนักไม่ไหม
         เทน้ำใส่ขวดโดยเอากรวยใส่ไว้ที่ปากขวดน้ำ  น้ำจะไหลลงไปในขวดได้ดีแต่เมื่อเอาดินน้ำมันมาติดที่ปากขวด น้ำก็จะไหลลงไปในขวดได้ช้าเพราะอากาศจะดันตัวออกจากขวดเมื่อน้ำเขามาแทนที่


พอดูเสร็จอาจารย์ก็ให้ออกมานำเสนอของเด็นของตัวเอง
ของดิฉันคือ ตัวยิง

การประยุกต์ใช้
 - สามารถนำการทดลองที่ดูจากวิดีโอมาทำกับเด็กได้และได้ความรู้เรื่องอากาศมากขึ้นเรายังสามารถนำวิดีโอนี้ไปให้เด็กดูได้ การนำเสนอของเล่นของแต่ล่ะคนเราสามารถนำดัดแปลงเป็นของเล่นชิ่นอื่นได้อีกหลายชิ้นเลยค่ะ
ประเมินอาจารย์
 - อาจารย์หาเทคนิคที่สอนที่ไม่ใช่อยู่แต่ในชั้นเรี่ยนทำให้นักศึกษาได้เปลียนบรรยากาษในการดีชอบมากค่ะ
ประเมินตนเอง
- ตอนดูวีดีโอมีงวงบ้านแต่ไม่ได้หลับเลยค่ะตอนดูก็รู้เรื่องอากาศมากขึ้นค่ะ

ประเมินเพื่อน
- เพื่อนตั้งใจดูวีดีโอแต่บางคนก็หลับบ้าง

                                    ของเล่นวิทยาศาสตร์
                                           ตัวดีด
อุปกรณ์
  1. ไม้ไอติม
  2. ยางรัด
  3. ฝาขวดน้ำ
  4. กาว
  5. คัดเตอร์
  6. ลูกบอลเล็กๆ

วิธีทำ
1. นำไม้ไอติม 2 อันทากาวแล้วรัดติดกันทั้ง 2 ด้านด้วยยางยืดไม้ไอติม

2. นำไม้ไอติมทากาวซ้อนกัน 3 ชั้นแล้วใช้ยางมัดทัง 2 ด้าน

3.นำไม้ไอติมจากข้อที่ 1 มาคีบ ข้อที่ 2 แล้วใช้ยางมัดตรงกลาง



4. ทากาวที่ปลายไม้ไอติมแล้วติดฝาขวดน้ำลงไป

การเล่น
ยิงลูกบอลเล็กๆ ให้ไกลที่สุดใครไกลกว่าชนะ


ทำไมตัวยิงถึงยิงได้
     อากาศอยู่รอบตัวเราเสมอ เราสามารถรู้ว่ามีอากาศอยู่รอบๆตัวเรา เช่น การโบกมือไปมา กระแสลมที่เกิดขึ้นและปะทะกับฝ่ามือของเรา ก็แสดงว่าอากาศมีจริง และการทำของเล่นที่ใช้ในการทดลอง อย่าง เช่น ตัวยิง ตัวยิงนี้ที่สามารถยิงได้ก็เพราะแรงดันของอากาศและแรงดีดของมือเราที่ส่งลูกบอลออกไปได้ถ้าแผ่นไม้ที่ซ้อนกันมากก็จะทำให้ยิงดีดได้ไกลขึ้นเพราะมีแรงดีดที่มากขึ้นที่มีพื้นที่ในการกดแผ่นไม้ได้ต่ำลงนั้นเอง


กาารบรูรณาการณ์
    นอกจากจะสอนให้เด็กได้รู้เรื่องอากาศแล้วยังทำให้เด็กได้ด้านคณิตศาสตร์การคาดคะเนที่จะยิงตัวดีดให้ไกลและการนับครั้งที่ดีดออกไปด้านศิลปะการออกแบบและการประดิษฐ์
การบันทึกครั้งที่ 4

วันอังคาร ที่ 30 สิงหาคม 2559

เวลาเรียน 13.30 -17.30
ความรู้ที่ได้รับ

-ก่อนการเรียนอาจารย์ได้ให้เราคัดตัวพยัญชนะไทยหัวกลมตัวเหลี่ยม
 
 
 
 
     vสัปดาห์นี้อาจารย์ให้แบ่งกลุ่มล่ะ 5 คนเพื่อประดิษฐ์อะไรก็ได้ที่เกียวกับวิทยาศาสตร์ที่เกียวกับเรื่องอากาศอากาศ โดยอาจารย์มีอุปกรณ์ให้มี  คลิปหนีบกระดาษมา1อัน และกระดาษมา1แผ่น 
กลุมเราได้ทำเป็นกัลหันลม
 
- ผลงานที่ทำาเสร็จค่ะ
 


 
 
 
 - พอทำเสร็จทุกกลุมแล้วก็ออกมานำเสนอที่ล่ะกลุ่ม

กลุ่มที่ 1
   การนำเสนอ ผ่านสื่อที่เป็นนิทานจากเรื่องเล่า เกี่ยวกับฝนจากอากาศ
 กลุ่มที่ 2
ใช้พัดเป็นสื่อการสอนเรื่องอากศ 
 
 
 
 กลุ่มที่ 3 กลุ่มดิฉัน
เก็บเด็กโดยใช้เพลง ตาดู หูฟัง จากนั้นก็อธิบายเกี่ยวกับกังหันลมโดยใช้อากาศให้เกิดลมปะทะกับกังหันให้เคลื่อนที่
 
 

กลุ่มที่ 4

เก็บเด็กโดยใช้เพลง ซาลาเปา ได้อธิบายว่ากระดาษกับคลิบหนีบกระดาษอันไหนตกเร็วกว่าหรืออันไหนตกช้ากว่า เป็นการทดลอง แล้วตั้งสมมุติฐาน


 กลุ่มที่ 5
ใช้เพลง นิ้วชี้ ใช้สื่อทำเป็นสภาพอากาศ มี4 ช่องคือ ฤดูร้อน ฤดูฝน ฤดูหนาว ฤดูใบไม้ผลิ
 
 
 
 กลุ่มที่ 6
ใช้เพลงกำมือ ใช้สื่อเรือใบแล้วจะใช้คำถาม แล้วจะให้เด็กเล่นเกมเกี่ยวกับลมบกและลมทะเล
 
 
 
     ยกตัวอย่างประเด็นปัญหากระดาษกับคลิบกระดาษ
 อาจารย์ยกตัวอย่างการเอาเอาถุงพลาสติกมาเก็บอากาศทำให้ถุงโป่งแล้วก็อธิบายว่าอากาศรอบๆตัวเราต้องการที่อยู่ และมีตัวตนแต่เราไม่สามารถมองเห็นได้   
    การลงมือกระทำด้วยสัมผัสทั้ง5อย่างอิสระด้วยการเล่น คือการเรียนรู้ของเด็ก
    พัฒนาการของเด็ก แรกเกิด-2ปี 
    ธรรมชาติของเด็ก คือ ภาพรวม อยากรู้อยากเห็น
    คุณลักษณะตามวัย คือ พฤติกรรม

การประยุกต์ใช้

- การประยุกต์เรา สามารถนำผลงานของเพื่อนแต่ละกลุ่มมาประยุกต์ใช้กับของเราได้และได้รู้เนื้อหาที่ต่างกันหลายเรื่อง และสามารถนำผลงานขอลแต่ล่ะกลุ่มไปสอนเด็กได้ในอนาตด 
 
ผู้สอน
-   วันนี้อาจารย์อธิบายความรู้เกี่ยวกับอากาศอย่างละเอียดทำให้นักศึกษาได้รู้เรื่องของอากาศอย่างลึกซึ้งและอาจารย์ได้สาธิตให้ดูในการเก็บอากาศค่ะ
 
ตัวเอง
- คิดว่าตัวเองได้ทำเติมที่แล้วในการทำงานและการเรียนเรื่องอากาศยังช่วยเพื่อนเติมที่แล้วค่ะ
 
เพื่อน
- เพื่อนๆแต่ละกลุ่มก็ต่างทำหน้าที่ของตัวเองอยางเติมที่ค่ะ

วันอังคารที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2559

วันอังคาร ที่ 23 สิงหาคม 2559
เวลาเรียน 13.30 - 17.30
ความรู้ที่ได้รับ
- วันนี้อาจารย์ได้ให้สรุปเนื้อหาในชีสที่เกี่ยวกับเด็กปฐมวัยเป็นคุณลักษณะตามวัย พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา ตั้งแต่ช่วงอายุ 3-5 ปี






การประยุกต์ใช้

-การนำทฤษฏีทไปใช่ศึกษาพฤติกรรมเด็กๆหลายรูปแบบและนำมาปรับใช้ในด้านการสอน การนำไปพัฒนาด้านต่างๆของเด็ก

การประเมิน

ผู้สอน
-อาจารย์ได้มอบหมายงานให้ทำในระหว่างที่ติดธุระ


ตัวเอง
-ตั้งใจทำงานและอ่านก่อนที่สรุป


เพื่อน
-เพื่อนๆตั้งใจทำงานทุกคน
การบันทึกครั้งที่ 2
วันเสาร์ ที่ 28 สิงหาคม 2559
เวลาเรียน 13.30 -17.30
     ความรู้ที่ได้รับ
-วันนี้อาจารย์ให้ไปศึกษาดูงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2559 หรือ  ที่เมืองทองธานีอิมแพค ในงานเติมไปด้วยความรู้เกียวกับวิทยาศาสตร์ เช่น เซล์ลของปลาต่าง ไก่กับไข่อันไหนเกิดก่อน ไดโนเสาร์  ภูเขาไฟ กาารพับจรวด เป็นต้น  

- ดูไดโนเสาร์



- ดูไข่ของนกพันธุ์ต่างๆ


- หน้างานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2559




- ทำภูเขาไฟ



- ทำเกียวกับไฟและแม่เหล็ก

 

- ดูไข่ปลาที่เล็กที่สุดในโลก


 

     -วันนี้ได้ความรู้ที่จะนำไปประยุกต์ใช้ในการสอนเด็กปฐมวัน อีกหลากหลายวิธี เช่นการทำภูเข้าไฟ และเรื่องร่างกายของฉัน และอีกหลากหลายกิจกรร และการแก้ปัญหาสิ่งที่จะเกิอขึ้นได้และการเอาตัวรอด










การบันทึกครั้งที่ 1
ชดเชยครั้งที่1 ของวันที่ 9 สิงหาคม
วันจันทร์ ที่ 22 สิงหาคม 2559
ความรู้ที่ได้รับ

-วันนี้ได้เข้ามาพูดเกี่ยวกับการทำบล็อคภาษาอังกฤษและเนื้อหาข้างในบล็อก ต่างๆเป็นภาษาอังกฤษข้อมูล เช่น  บทความ วิจัย แนวการสอน หน่วยงานสนับสนุน สื่อ ต่างๆ

ชดเชยครั้งที่2 ของวันที่ 16 สิงหาคม
วันจันทร์ ที่ 22 สิงหาคม 2559
ความรู้ที่ได้รับ
1.เรียนเรื่อง โลก ดาราศาสตร์ สิ่งรอบตัว

2.วิธีการ,ทดลอง ,ตั้งคำถาม ,สำรวจ ,วิเคราะห์ ,สรุป ,สังเกต

- วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการเปลี่ยนแปลง การปรับตัว ความแตกต่าง พึ่งพาอาศัย ความสมดุ 
    เครื่องมือในการเรียนรู้ คือ ภาษา คณิตศาสตร์

-ความสำคัญ   สำคัญต่อการสร้างเสริมประสบการณ์กับเรา

-ประโยชน์      ทำให้เราเกิดความเชื่อมั่นในตัวเองในการค้นหาค้นคว้า

3.เด็กปฐมวัย แรกเกิดถึง 5ปี 11 เดือน 29 วัน
-อายุ พัฒนาการ อยากรู้อยากเห็น เลียนแบบ ลำดับขั้น
-การอยากรู้อยากเห็นสะท้อนออกมาจากพัฒนาการ
-พัฒนาการเป็นตัวบ่งบอกความสำคัญของเด็ก
-วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของสติปัญญา
    1.การคิด    2.ภาษา
 
 
 
 
 
 
การประยุกต์ใช้
-การนำไปใช้ในบทเรียนที่สอนเด็กได้หลายอย่ามมาประยุกใช้กันได้หลายด้าน
-กิจกรรมที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์นั้นนำมาใช้ได้หลายหลายวิชา
 
การประเมิน
ผู้สอน
-ช้นักศึกษาได้ใช้ความคิดตลอดเวลาในการเรียนได้ออกความคิดเห็นในการเรียนตลอด

ตัวเอง
-เรียนเข้าใจในบทเรียนพอสมควร
เพื่อน
-เพื่อนๆตั้งใจเรียนและตอบคำถามอาจารย์
 ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปภาพ เคลื่อนไหว น่า รัก ๆ hi5