พุยพุย พุยพุย พุยพุย พุยพุย
พุยพุย

The value of the portfolio Science Experiences Management for Early Childhood



The value of the portfolio Science Experiences Management for Early Childhood



วันอังคารที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559


บทความเรื่อง การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย

      วิทยาศาสตร์มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการดำรงชีวิตประจำวันของมนุษย์ ตลอดชีวิตของทุกคนต่างก็มีความเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ทั้งสิ้น  การเรียนรู้วิทยาศาสตร์จึงมีความสำคัญที่จะทำให้คนได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะที่สำคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่หลากหลายและ มีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ช่วยให้คนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์ขึ้น รวมถึงการนำความรู้ไปใช้อย่างสร้างสรรค์ มีเหตุผล มีคุณธรรม นอกจากนี้ยังช่วยให้คนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ การดูแลรักษาตลอดจนการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลและยั่งยืนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ควรเน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมมีประสบการณ์ตรง ได้ลงมือปฏิบัติจริงโดยมีครูเป็นผู้ตอบสนองความสนในของเด็กและส่งเสริมการจัดโครงสร้างความคิดจากประสบการณ์ เพื่อพัฒนามุมมองและความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ รวมถึงการส่งเสริมทัศนคติเกี่ยวกับการดูแลและมีความรับผิดชอบที่รักษาสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวอย่างเหมาะสมตามวัย
อย่างไรก็ตาม การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยยังไม่ได้รับการส่งเสริมให้แพร่หลายอาจเนื่องด้วยการศึกษาปฐมวัยมิได้เป็นการศึกษาภาคบังคับและในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยได้กำหนดกรอบสาระของหลักสูตรไว้กว้างๆทำให้สาระของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ไม่มีความชัดเจน สสวท.จึงร่วมกับกลุ่มนักวิชาการ พัฒนากรอบมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัยขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยที่สอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัย พุทธศักราช 2546 และอยู่บนพื้นฐานของมาตรฐานการเรียนรู้การศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 โดยมีหลักในการเลือกเนื้อหา 3 ประการดังนี้
1.ขอบเขตเนื้อหาวิทยาศาสตร์
2.ความเหมาะสมต่อพัฒนาการและความสามารถในการเรียนรู้ของเด็ก
3.สามารถนำไปปฏิบัติจริงได้

 จุดมุ่งหมายให้ครูผู้สอนได้นำไปจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนา           ความรู้ รวมถึงการพัฒนากระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการแก้ปัญหา ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัยและเป็นการเตรียมพร้อมสำหรับการศึกษาในระดับต่อไปเป้าหมายสำคัญในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
    1.แสดงความตระหนักรู้เกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้นผ่านการลงมือปฏิบัติ การสำรวจ การสังเกต การตั้งคำถาม และการแลกเปลี่ยนสิ่งที่ค้นพบ
    2.ดำเนินการสืบเสาะหาความรู้อย่างๆด้วยตนเอง อย่างเสรีและตามแยยที่กำหนดให้
    3.แสดงความเข้าใจและรู้จักดูแลรักษาธรรมชาติ
    4.สืบค้นและสนทนาเกี่ยวกับลักษณะและองค์ประกอบของสิ่งต่างและใช้สิ่งเหล่านั้นได้อย่างปลอดภัย
    5.รู้และสามารถใช้สิ่งของที่เป็นเทคโนโลยีอย่างง่ายๆได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย
    6.เพื่อให้มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์


เอกสารอ้างอิง  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  แนวทางการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 2546




สรุปวิจัยวิทยาศาสตร์เรื่องการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัย
โดยใชกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝกทักษะ

บทนํา
   การเรียนวทยาศาสตร ิ เปนการเรยนการแก้ปญหาอยางมีเหตผลุ ซึ่งเรียกวากระบวนการ 
ทางวิทยาศาสตรเด็กปฐมวยสามารถเรียนรูกระบวนการวิทยาศาสตรได้โดยครูใชประสบการณการ
คิดและปฏบัติจากการศึกษารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูวิทยาศาสตร พบวาเด็กจะรับรูและคิดถายโยงเปนทิศทางเดียว ไมซับซอน ดังนั้นการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรที่มีความสําคัญตอเด็กปฐมวยในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตรจึงแบงออกเปน 4 ทักษะ คือ ทักษะการสังเกตทักษะการจําแนก ประเภททักษะการสื่อสาร และทักษะการลงความเห็น ซึ่งสอดคลองกับ
สตาคเฮล ดีน่ากลาววา ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรท ี่มีความสําคญสั ําหรับเด็กปฐมวัย ไดแก ทักษะการสังเกต ทักษะการจําแนกประเภท ทักษะการสื่อความหมาย และทักษะการลงความเห็นเชนกัน

    เด็กปฐมวัยอายุระหวาง 4 - 5 ปมีลักษณะเฉพาะตวั คอื มีความเชื่อวา ทุกอยางมีชีวีติมีความรูสึกและเชื่อวาทุกสิ่งในโลกมีจุดมุงหมาย และชอบตั้งคําถามโดยใชคําวา “ทําไม”เด็กปฐมวัยจะเรียนรูจากเหตุการณและสิ่งแวดลอมตางๆ รอบตวโดยใช ้ประสาทสมผัสทั้งหา ทําใหเด็กมีประสบการณตรพัฒนาการทางภาษาอยางรวดเร็วชอบซกถามและส ฎรวจสิ่งใหมๆ การพัฒนาเด็กปฐมวัยใหมีความ สามารถในการเรียนรูดวย การใชประสาทสัมผัสทั้งหา คือ การมอง การฟง การดม การชิม และการสัมผัส นําไปเชื่อมโยงกับสงแวดลอมธรรมชาติตางๆ รอบตัวเด็กเปนการกระตนและตอบสนองความสนใจของเด็กการใหโอกาสเด็กสํารวจลงมือกระทํากิจกรรมตางๆ ดวยตนเอง ทําใหเกิดการรับรู ความเขาใจและความคิดรวบยอด นําไปสูการพัฒนาสติปญญา

    แบบฝกทักษะเปนเอกสารทสร้างขึ้นเพื่อให ้เด็กไดเตรียมความพรอมด้านสติปญญาและทักษะตางๆ มีรูปแบบ วิธีการ ที่มีแบบแผน กฎเกณฑ โดยมีคําสั่งของแตละกิจกรรมตามเนื้อหาจุดประสงคของแบบฝกแตละเลม ซึ่งเปนแบบฝกเกียวกับภาพครูจะใชประกอบขณะเด็กทํากิจกรรมหรือตอนสรุปการเรียนทั้งนี้เจตนาเพอใช ื่ ในการทบทวน ฝกการขีดเขียน และการสังเกตของเด็ก แบบฝกทักษะไดเนนการใชสมองเปนฐานการเรียนรู ซึ่งการพัฒนานั้นหมายถึงเปนการใชสมองซีกซายและขวารวมกนทั้งงจิตวิทยาเพื่อสรางการรับรูเนื่องจากสมองเปนอวัยวะสําคญของชีวิต มีหนาที่ในการดํารงอยูของชีวติ การคิดและการเรียนรูของมนุษยประกอบดวยสมอง 2 ซีก คือซีกซายและขวาที่ทํางานตอเนื่องกัน สัมพันธกนั สมองซีกซายควบคุมการคิด การวิเคราะหและเหตุผลสวนสมองซีกขวาใชคิดแบบองครวมและสรางสรรค


ความมุงหมายของการวิจัย
ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดตั้งความมุงหมายไวดังนี้
    1. เพื่อศึกษาระดับทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยโดยรวมและจําแนกรายทักษะ 
หลงการใชกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝกทักษะ
    2. เพื่อเปรียบเทียบการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยกอนและหลังการใชกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝกทักษะ

ความสําคญของการวิจัย
    ผลการวิจัยครั้งนี้จะเปนขอมูลพื้นฐานเพื่อใหผูเกี่ยวของกับการจัดการศึกษาสําหรับเด็กปฐมวัยใชเป็นแนวทางในการใชแบบฝกทักษะประกอบการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย และเปนแนวทางสําหรับครูในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชสื่อทเป็นแบบฝกท กษะหรือสื่ออื่นๆ 


นิยามศัพทเฉพาะ

     1. เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กนักเรียนชาย - หญิง ที่มีอายุระหวาง 4 - 5 ปซึ่งกําลังศึกษาอยูระดบอนุบาล
     2. การพัฒนา หมายถึง ผลลัพธของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวยที่ไดรับจากการจัดกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝึกหัดทักษะวิทยาศาสตรสาหรับเด็ก
    3. ทักษะกระบวนการวทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวยั หมายถึง ความสามารถของเด็กปฐมวัยในการใชความการคนหาความรเพู ื่อหาคําตอบที่เป็ยนองคความรได้ในการวิจัยนี้จําแนกเปน 4 ดาน
    4. กิจกรรมการเรียนรู หมายถึง งานการเรียนสําหรับเด็กปฐมวัยที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้นเพื่อใหเด็กไดปฏิบัติการการเรียนรโดยจุดลําดับสาระตามชุดแบบฝกทักษะวิทยาศาสตรนํา เปนขั้นการเตรียมเด็กเขาสูกิจกรรมการเรียนรูประกอบดวยกิจกรรมอยาง ใดอยางหนึ่งที่มีเนื้อหาสอดคลองกับเรื่องที่จะเรียน     ขั้นสอน แบงออกเปน 2 ตอน ตอนที่ 1 จัดกิจกรรมใหเด็กมีความรูความเขาใจ เกี่ยวกับมโนทัศนของเรื่องที่เรียน และตอนที่ 2 ทําชุดแบบฝกทักษะตามมโนทัศนของเรื่องที่เรียน
รียนเรื่องนั้นๆ
    5. ชุดแบบฝกทักษะ หมายถึง แบบฝกทักษะวิทยาศาสตรโดยเนนการใชสมองเปน
ฐานการเรียน






      
   


สรุปวิดีโอ เรื่อง แรง - มวล น้ำหนัก และแรงโน้มถ่วง

      วิชาวิทยาศาสตร์ให้ชั้นเรียนของเธอ เธอพูดถึงเรื่องมวล น้ำหนัก และแรงโน้มถ่วง โดยใช้ลูกบอลแทนที่โลกและดวงจันทร์ และใช้ตุ๊กตาหมีอวกาศแอสโตรแบร์แทนสิ่งมีชีวิต โซอีเริ่มการสอนด้วยเรื่องแรงโน้มถ่วง โดยใช้สื่อการสอนเพื่อถ่ายทอดความเข้าใจออกมาเป็นภาพที่เห็นได้ รวมถึงสิ่งที่นักเรียนเข้าใจมาผิด ๆ ด้วย จากการฝึกแลกเปลี่ยนความเห็นเป็นคู่ นักเรียนเริ่มเข้าใจว่าแรงโน้มถ่วงคือกำลังอย่างหนึ่ง โซอีแนะนำศัพท์ “แรงโน้มถ่วง” และอ้างย้อนกลับไปถึงงานของชั้นป.5 เธอแยกความแตกต่างของการใช้คำว่า “น้ำหนัก” ในชีวิตประจำวัน กับในทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้สื่อการสอนที่เป็นภาพ และแสดงให้นักเรียนเห็นว่าแรงโน้มถ่วงส่งผลอย่างไรต่อน้ำหนัก เมื่อเด็ก ๆ เขียนคำศัพท์สำคัญ ๆ ของบทเรียนนี้เสร็จแล้ว ต่อไปจะเป็นชั่วโมงฝึกวัดหน่วยนิวตันเมตร ประเด็นสำคัญคือ การแยกความต่างระหว่างน้ำหนักกับแรงโน้มถ่วง การใช้หน่วยนิวตันเมตร




 

การบันทึกครั้งที่ 16 

วันอังคาร ที่ 22 พฤศจิกายน 2559

เวลาเรียน 13.30 -17.30
ความรู้ที่ได้รับ

  วันนี้อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มที่เขียนแผนการสอนอาทิตย์ที่แล้วมาสอนในอาทิตย์นี้ตาม หน่วย ของแต่ล่ะกลุ่ม โดยที่แต่ล่ะกลุ่ม สอน 1 วัน

วันจันทร์ หน่วย ไก่
วันอังคาร  หน่วยนม
วันพุธ  หน่วยข้าว,หน่วยส้ม หน่วยข้าว
วันพฤหัสบดี หน่วยกล้วย
วันศุกร์ หน่วยน้ำ









การประยุกต์ใช้

   การเรียนในวันนี้ทุกคนได้เรียนแบบได้ลงมือทำจริงสอนจริงแล้วได้รู้กานนำไปใช้ตอนที่เราสอนจริงได้หลายเรื่องหลายหนน่วย
การประเมิน

ผู้สอน

   อาจารย์ให้คำแนะนำดีมากค่ะในการสอนของแต่ละหน่วยว่าสอนตรงไหนผิดบ้างบ

ตัวเอง

  วัันนี้ไม่ได้สอนเพราะ หน่วยนม ว้มเป็นคนสอน ดิฉันเป็นู้ช่วยในการเตรียมอุปกรณ์

เพื่อน

   เพื่อนๆทุกคนช่วยกันมากในการสอนวันนี้ทุกคนช่วยเหลือทุกกลุ่มช่วยเป็นเด็กให้เพื่อน




                                 


การบันทึกครั้งที่ 15 

วันอังคาร ที่ 15 พฤศจิกายน 2559

เวลาเรียน 13.30 -17.30
ความรู้ที่ได้รับ
อาจารย์ให้นั้งเป็นกลุ่มแล้วช่วยกันเขียนแพนที่จะสอนเด็กในแต่ล่ะวันแล้วจับฉลากทุกกลุ่มในห้องว่ากลุ่มไหนจะได้สอนวันไหนบ้าง

"หน่วย นม "
           วันจันทร์ = กษมา เลือก ลักษณะของนม
           วันอังคาร = ปรีชญา เลือก ความแตกต่างของนม ช็อคโกแลต กับนมถั่วเหลือง
           วันพุธ = วนิดา เลือก การถนอมของนม
           วันพฤหัสบดี = ศิริพร เลือก ประโยชน์และโทษของนม
           วันศุกร์ = มาณิศา  เลือก ทำcooking จากนม คือนมปั่น 
     หน่วย นม ประโยชน์และโทษของนม



       เพื่อให้เด็กใช้ประสาทสัมผัสระหว่างมือกับตาอย่างสัมผันธ์กัน
       เพื่อให้เด็กได้ฝึกการสังเกต
       เพื่อฝึกสมาธิเด็กในการทำกิจกรรม
 สาระการเรียนรู้
      สาระที่ควรเรียนรู้   ประโยชน์และโทษของนม
         ประสบการณ์สำคัญ
              ด้านร่างกาย เด็กได้ใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก คือ การทำถ้าประกอบต่างครู
              ด้านสติปัญญา  มีสมาธิ ในการฟังนิทาน ได้คิดตามนิทาน
              ด้านสังคม ฟังนิทานรวมกับผู็อื่นได้
              ด้านอารมณ์ -จิตใจ สนุกสนาน
กิจกรรมการเรียนรู้
  ขั้นนำ
        สงบเด็กโดยการเล่านิทาน
  ขั้นสอน
     
        ถามประโยชน์และโทษของนมในนิทาน
        ถามประโยชน์และโทษของนมที่ไม่ใช่ในนิทาน

สื่อ/แหล่งเรียนรู้
       นิทานเรื่องประโยชน์และโทษของนม
       การพูดคุยตั้งคำถาม
การบรูณาการ
     วิทยาศาสตร์
     คณิตศาสตร์
     สุขศึกษา

การประยุกต์ใช้

    เป็นการเรียนแบบที่เราทำแค่เรื่องเดียวแต่เราสามารถนำเรื่องของเพื่อนไปสอนในภาคหน้าได้หลายเรื่องและได้รู้แนวการสอนหลายวันหลายแบบ
การประเมิน

ผู้สอน

  อาจารย์เป็นคนที่ให้ความรู้แบบเราต้องคิดตามไม่บอเด็กทุกอย่างแต่ให้เด็กคิดเองก่อนแล้วถึงมาอธิบายให้ฟังอีกที

ตัวเอง

   วันนีเขียนแผนดิฉันก็เขียนได้แต่ไม่ได้ดีเท่าไร

เพื่อน

  เพื่อนๆตั้งใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์มากบางครั้งพูดเสียงดังไปบางแต่เพื่อนๆก็กลับมาตั้งใจเรียนเหมือเดิม




วันพฤหัสบดีที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2559


การบันทึกครั้งที่ 14 

วันอังคาร ที่ 8 พฤศจิกายน 2559

เวลาเรียน 13.30 -17.30

ในสัปดาห์นักศึกษากลุ่ม 102 บ่าย วันอังคาร มีภาระกิจทำกิจกรรม

ต้อนรับคณะผู้มาเยี่ยมชมมหาวิทยาลัย คณะศึกษาศาสตร์ เอกปฐมวัย



การบันทึกครั้งที่ 13 

วันอังคาร ที่ 1 พฤศจิกายน 2559

เวลาเรียน 13.30 -17.30

ความรู้ที่ได้รับ

    อาจารย์ได้ให้แต่ล่ะกลุ่มเปิดวิดีโอของเล่นวิทยาศาสตร์มีทั้งหมด 4 กลุ่มดังนี้คือ

 กลุ่มที่ 1 เรื่อง พลังปริศนา

https://www.youtube.com/watch?v=Go9zrFhikS8

กลุ่มที่ 2 เรื่อง ขวดปริศนา

https://www.youtube.com/watch?v=QwkwdmlMres

กลุ่มที่ 3 เรื่อง รถแกนหลอดด้าย

https://www.youtube.com/watch?v=QwkwdmlMres

กลุ่มที่ 4 ลูกข่างนักสืบ

https://www.youtube.com/watch?v=8iXxHIRi72I&t=52s


ใช้ทำงานชิ้นนี้เพื่อเป็นสื่อใช้ในการเรียนการสอ

    ต่อมาอาจารย์ก็ได้ให้นั่งเป็นกลุ่มแล้วก็สอนหน่วยต่างๆที่มีการเรียนรู้คือ คณิต วิทยาศาสตร์ ภาษา ศิลปะ สังคม สุขศึกษา โดยอาจารย์ได้เขียนตัวอย่างและอธิบายให้ฟังและดูแล้วจากนั้นก็ได้ให้แต่ละกลุ่มได้เริ่มเขียน Mind mapping 





ผลงานกลุ่ม นม





การประยุกต์ใช้

การนำเอาวิดีโอที่แต่ล่ะกลุ่มทำมานำเสนอสามารถนำไปใช่ในการสอนเด็กได้โดยไม่ต้องทำเองทุกหน่วยและและลงมือทำเองทุกขั้นตอน
การประเมิน

ผู้สอน

วันนี้อาจารย์ได้ให้ทุกกลุ่มอออกมานำเสอนวีดีโอกานสอนและให้คำแนะนำในการทำและควรใส่อะไรเพิ่มในการทำวีดีโออันต่อไปเพื่อจะได้ดีมากขึ้น และในการทำงานกลุ่มอาจรย์ได้ใช้คำแนะนำทุกกลุ่มเป็นอย่างดี

ตัวเอง

   รับฟังข้อเสนอแนะของอาจารย์และจะนำไปรับใช้ในงานต่อไป

เพื่อน
   เพื่อนทุกคนตั้งใจฟังอาจารย์และทำงานกลุ่มกันด้วนความสงบ