พุยพุย พุยพุย พุยพุย พุยพุย พุยพุย

The value of the portfolio Science Experiences Management for Early Childhood



The value of the portfolio Science Experiences Management for Early Childhood



วันอังคารที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559


บทความเรื่อง การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย

      วิทยาศาสตร์มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการดำรงชีวิตประจำวันของมนุษย์ ตลอดชีวิตของทุกคนต่างก็มีความเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ทั้งสิ้น  การเรียนรู้วิทยาศาสตร์จึงมีความสำคัญที่จะทำให้คนได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะที่สำคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่หลากหลายและ มีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ช่วยให้คนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์ขึ้น รวมถึงการนำความรู้ไปใช้อย่างสร้างสรรค์ มีเหตุผล มีคุณธรรม นอกจากนี้ยังช่วยให้คนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ การดูแลรักษาตลอดจนการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลและยั่งยืนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ควรเน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมมีประสบการณ์ตรง ได้ลงมือปฏิบัติจริงโดยมีครูเป็นผู้ตอบสนองความสนในของเด็กและส่งเสริมการจัดโครงสร้างความคิดจากประสบการณ์ เพื่อพัฒนามุมมองและความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ รวมถึงการส่งเสริมทัศนคติเกี่ยวกับการดูแลและมีความรับผิดชอบที่รักษาสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวอย่างเหมาะสมตามวัย
อย่างไรก็ตาม การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยยังไม่ได้รับการส่งเสริมให้แพร่หลายอาจเนื่องด้วยการศึกษาปฐมวัยมิได้เป็นการศึกษาภาคบังคับและในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยได้กำหนดกรอบสาระของหลักสูตรไว้กว้างๆทำให้สาระของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ไม่มีความชัดเจน สสวท.จึงร่วมกับกลุ่มนักวิชาการ พัฒนากรอบมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัยขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยที่สอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัย พุทธศักราช 2546 และอยู่บนพื้นฐานของมาตรฐานการเรียนรู้การศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 โดยมีหลักในการเลือกเนื้อหา 3 ประการดังนี้
1.ขอบเขตเนื้อหาวิทยาศาสตร์
2.ความเหมาะสมต่อพัฒนาการและความสามารถในการเรียนรู้ของเด็ก
3.สามารถนำไปปฏิบัติจริงได้

 จุดมุ่งหมายให้ครูผู้สอนได้นำไปจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนา           ความรู้ รวมถึงการพัฒนากระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการแก้ปัญหา ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัยและเป็นการเตรียมพร้อมสำหรับการศึกษาในระดับต่อไปเป้าหมายสำคัญในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
    1.แสดงความตระหนักรู้เกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้นผ่านการลงมือปฏิบัติ การสำรวจ การสังเกต การตั้งคำถาม และการแลกเปลี่ยนสิ่งที่ค้นพบ
    2.ดำเนินการสืบเสาะหาความรู้อย่างๆด้วยตนเอง อย่างเสรีและตามแยยที่กำหนดให้
    3.แสดงความเข้าใจและรู้จักดูแลรักษาธรรมชาติ
    4.สืบค้นและสนทนาเกี่ยวกับลักษณะและองค์ประกอบของสิ่งต่างและใช้สิ่งเหล่านั้นได้อย่างปลอดภัย
    5.รู้และสามารถใช้สิ่งของที่เป็นเทคโนโลยีอย่างง่ายๆได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย
    6.เพื่อให้มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์


เอกสารอ้างอิง  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  แนวทางการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 2546




สรุปวิจัยวิทยาศาสตร์เรื่องการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัย
โดยใชกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝกทักษะ

บทนํา
   การเรียนวทยาศาสตร ิ เปนการเรยนการแก้ปญหาอยางมีเหตผลุ ซึ่งเรียกวากระบวนการ 
ทางวิทยาศาสตรเด็กปฐมวยสามารถเรียนรูกระบวนการวิทยาศาสตรได้โดยครูใชประสบการณการ
คิดและปฏบัติจากการศึกษารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูวิทยาศาสตร พบวาเด็กจะรับรูและคิดถายโยงเปนทิศทางเดียว ไมซับซอน ดังนั้นการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรที่มีความสําคัญตอเด็กปฐมวยในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตรจึงแบงออกเปน 4 ทักษะ คือ ทักษะการสังเกตทักษะการจําแนก ประเภททักษะการสื่อสาร และทักษะการลงความเห็น ซึ่งสอดคลองกับ
สตาคเฮล ดีน่ากลาววา ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรท ี่มีความสําคญสั ําหรับเด็กปฐมวัย ไดแก ทักษะการสังเกต ทักษะการจําแนกประเภท ทักษะการสื่อความหมาย และทักษะการลงความเห็นเชนกัน

    เด็กปฐมวัยอายุระหวาง 4 - 5 ปมีลักษณะเฉพาะตวั คอื มีความเชื่อวา ทุกอยางมีชีวีติมีความรูสึกและเชื่อวาทุกสิ่งในโลกมีจุดมุงหมาย และชอบตั้งคําถามโดยใชคําวา “ทําไม”เด็กปฐมวัยจะเรียนรูจากเหตุการณและสิ่งแวดลอมตางๆ รอบตวโดยใช ้ประสาทสมผัสทั้งหา ทําใหเด็กมีประสบการณตรพัฒนาการทางภาษาอยางรวดเร็วชอบซกถามและส ฎรวจสิ่งใหมๆ การพัฒนาเด็กปฐมวัยใหมีความ สามารถในการเรียนรูดวย การใชประสาทสัมผัสทั้งหา คือ การมอง การฟง การดม การชิม และการสัมผัส นําไปเชื่อมโยงกับสงแวดลอมธรรมชาติตางๆ รอบตัวเด็กเปนการกระตนและตอบสนองความสนใจของเด็กการใหโอกาสเด็กสํารวจลงมือกระทํากิจกรรมตางๆ ดวยตนเอง ทําใหเกิดการรับรู ความเขาใจและความคิดรวบยอด นําไปสูการพัฒนาสติปญญา

    แบบฝกทักษะเปนเอกสารทสร้างขึ้นเพื่อให ้เด็กไดเตรียมความพรอมด้านสติปญญาและทักษะตางๆ มีรูปแบบ วิธีการ ที่มีแบบแผน กฎเกณฑ โดยมีคําสั่งของแตละกิจกรรมตามเนื้อหาจุดประสงคของแบบฝกแตละเลม ซึ่งเปนแบบฝกเกียวกับภาพครูจะใชประกอบขณะเด็กทํากิจกรรมหรือตอนสรุปการเรียนทั้งนี้เจตนาเพอใช ื่ ในการทบทวน ฝกการขีดเขียน และการสังเกตของเด็ก แบบฝกทักษะไดเนนการใชสมองเปนฐานการเรียนรู ซึ่งการพัฒนานั้นหมายถึงเปนการใชสมองซีกซายและขวารวมกนทั้งงจิตวิทยาเพื่อสรางการรับรูเนื่องจากสมองเปนอวัยวะสําคญของชีวิต มีหนาที่ในการดํารงอยูของชีวติ การคิดและการเรียนรูของมนุษยประกอบดวยสมอง 2 ซีก คือซีกซายและขวาที่ทํางานตอเนื่องกัน สัมพันธกนั สมองซีกซายควบคุมการคิด การวิเคราะหและเหตุผลสวนสมองซีกขวาใชคิดแบบองครวมและสรางสรรค


ความมุงหมายของการวิจัย
ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดตั้งความมุงหมายไวดังนี้
    1. เพื่อศึกษาระดับทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยโดยรวมและจําแนกรายทักษะ 
หลงการใชกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝกทักษะ
    2. เพื่อเปรียบเทียบการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยกอนและหลังการใชกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝกทักษะ

ความสําคญของการวิจัย
    ผลการวิจัยครั้งนี้จะเปนขอมูลพื้นฐานเพื่อใหผูเกี่ยวของกับการจัดการศึกษาสําหรับเด็กปฐมวัยใชเป็นแนวทางในการใชแบบฝกทักษะประกอบการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย และเปนแนวทางสําหรับครูในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชสื่อทเป็นแบบฝกท กษะหรือสื่ออื่นๆ 


นิยามศัพทเฉพาะ

     1. เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กนักเรียนชาย - หญิง ที่มีอายุระหวาง 4 - 5 ปซึ่งกําลังศึกษาอยูระดบอนุบาล
     2. การพัฒนา หมายถึง ผลลัพธของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวยที่ไดรับจากการจัดกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝึกหัดทักษะวิทยาศาสตรสาหรับเด็ก
    3. ทักษะกระบวนการวทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวยั หมายถึง ความสามารถของเด็กปฐมวัยในการใชความการคนหาความรเพู ื่อหาคําตอบที่เป็ยนองคความรได้ในการวิจัยนี้จําแนกเปน 4 ดาน
    4. กิจกรรมการเรียนรู หมายถึง งานการเรียนสําหรับเด็กปฐมวัยที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้นเพื่อใหเด็กไดปฏิบัติการการเรียนรโดยจุดลําดับสาระตามชุดแบบฝกทักษะวิทยาศาสตรนํา เปนขั้นการเตรียมเด็กเขาสูกิจกรรมการเรียนรูประกอบดวยกิจกรรมอยาง ใดอยางหนึ่งที่มีเนื้อหาสอดคลองกับเรื่องที่จะเรียน     ขั้นสอน แบงออกเปน 2 ตอน ตอนที่ 1 จัดกิจกรรมใหเด็กมีความรูความเขาใจ เกี่ยวกับมโนทัศนของเรื่องที่เรียน และตอนที่ 2 ทําชุดแบบฝกทักษะตามมโนทัศนของเรื่องที่เรียน
รียนเรื่องนั้นๆ
    5. ชุดแบบฝกทักษะ หมายถึง แบบฝกทักษะวิทยาศาสตรโดยเนนการใชสมองเปน
ฐานการเรียน






      
   


สรุปวิดีโอ เรื่อง แรง - มวล น้ำหนัก และแรงโน้มถ่วง

      วิชาวิทยาศาสตร์ให้ชั้นเรียนของเธอ เธอพูดถึงเรื่องมวล น้ำหนัก และแรงโน้มถ่วง โดยใช้ลูกบอลแทนที่โลกและดวงจันทร์ และใช้ตุ๊กตาหมีอวกาศแอสโตรแบร์แทนสิ่งมีชีวิต โซอีเริ่มการสอนด้วยเรื่องแรงโน้มถ่วง โดยใช้สื่อการสอนเพื่อถ่ายทอดความเข้าใจออกมาเป็นภาพที่เห็นได้ รวมถึงสิ่งที่นักเรียนเข้าใจมาผิด ๆ ด้วย จากการฝึกแลกเปลี่ยนความเห็นเป็นคู่ นักเรียนเริ่มเข้าใจว่าแรงโน้มถ่วงคือกำลังอย่างหนึ่ง โซอีแนะนำศัพท์ “แรงโน้มถ่วง” และอ้างย้อนกลับไปถึงงานของชั้นป.5 เธอแยกความแตกต่างของการใช้คำว่า “น้ำหนัก” ในชีวิตประจำวัน กับในทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้สื่อการสอนที่เป็นภาพ และแสดงให้นักเรียนเห็นว่าแรงโน้มถ่วงส่งผลอย่างไรต่อน้ำหนัก เมื่อเด็ก ๆ เขียนคำศัพท์สำคัญ ๆ ของบทเรียนนี้เสร็จแล้ว ต่อไปจะเป็นชั่วโมงฝึกวัดหน่วยนิวตันเมตร ประเด็นสำคัญคือ การแยกความต่างระหว่างน้ำหนักกับแรงโน้มถ่วง การใช้หน่วยนิวตันเมตร




 

การบันทึกครั้งที่ 16 

วันอังคาร ที่ 22 พฤศจิกายน 2559

เวลาเรียน 13.30 -17.30
ความรู้ที่ได้รับ

  วันนี้อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มที่เขียนแผนการสอนอาทิตย์ที่แล้วมาสอนในอาทิตย์นี้ตาม หน่วย ของแต่ล่ะกลุ่ม โดยที่แต่ล่ะกลุ่ม สอน 1 วัน

วันจันทร์ หน่วย ไก่
วันอังคาร  หน่วยนม
วันพุธ  หน่วยข้าว,หน่วยส้ม หน่วยข้าว
วันพฤหัสบดี หน่วยกล้วย
วันศุกร์ หน่วยน้ำ









การประยุกต์ใช้

   การเรียนในวันนี้ทุกคนได้เรียนแบบได้ลงมือทำจริงสอนจริงแล้วได้รู้กานนำไปใช้ตอนที่เราสอนจริงได้หลายเรื่องหลายหนน่วย
การประเมิน

ผู้สอน

   อาจารย์ให้คำแนะนำดีมากค่ะในการสอนของแต่ละหน่วยว่าสอนตรงไหนผิดบ้างบ

ตัวเอง

  วัันนี้ไม่ได้สอนเพราะ หน่วยนม ว้มเป็นคนสอน ดิฉันเป็นู้ช่วยในการเตรียมอุปกรณ์

เพื่อน

   เพื่อนๆทุกคนช่วยกันมากในการสอนวันนี้ทุกคนช่วยเหลือทุกกลุ่มช่วยเป็นเด็กให้เพื่อน




                                 


การบันทึกครั้งที่ 15 

วันอังคาร ที่ 15 พฤศจิกายน 2559

เวลาเรียน 13.30 -17.30
ความรู้ที่ได้รับ
อาจารย์ให้นั้งเป็นกลุ่มแล้วช่วยกันเขียนแพนที่จะสอนเด็กในแต่ล่ะวันแล้วจับฉลากทุกกลุ่มในห้องว่ากลุ่มไหนจะได้สอนวันไหนบ้าง

"หน่วย นม "
           วันจันทร์ = กษมา เลือก ลักษณะของนม
           วันอังคาร = ปรีชญา เลือก ความแตกต่างของนม ช็อคโกแลต กับนมถั่วเหลือง
           วันพุธ = วนิดา เลือก การถนอมของนม
           วันพฤหัสบดี = ศิริพร เลือก ประโยชน์และโทษของนม
           วันศุกร์ = มาณิศา  เลือก ทำcooking จากนม คือนมปั่น 
     หน่วย นม ประโยชน์และโทษของนม



       เพื่อให้เด็กใช้ประสาทสัมผัสระหว่างมือกับตาอย่างสัมผันธ์กัน
       เพื่อให้เด็กได้ฝึกการสังเกต
       เพื่อฝึกสมาธิเด็กในการทำกิจกรรม
 สาระการเรียนรู้
      สาระที่ควรเรียนรู้   ประโยชน์และโทษของนม
         ประสบการณ์สำคัญ
              ด้านร่างกาย เด็กได้ใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก คือ การทำถ้าประกอบต่างครู
              ด้านสติปัญญา  มีสมาธิ ในการฟังนิทาน ได้คิดตามนิทาน
              ด้านสังคม ฟังนิทานรวมกับผู็อื่นได้
              ด้านอารมณ์ -จิตใจ สนุกสนาน
กิจกรรมการเรียนรู้
  ขั้นนำ
        สงบเด็กโดยการเล่านิทาน
  ขั้นสอน
     
        ถามประโยชน์และโทษของนมในนิทาน
        ถามประโยชน์และโทษของนมที่ไม่ใช่ในนิทาน

สื่อ/แหล่งเรียนรู้
       นิทานเรื่องประโยชน์และโทษของนม
       การพูดคุยตั้งคำถาม
การบรูณาการ
     วิทยาศาสตร์
     คณิตศาสตร์
     สุขศึกษา

การประยุกต์ใช้

    เป็นการเรียนแบบที่เราทำแค่เรื่องเดียวแต่เราสามารถนำเรื่องของเพื่อนไปสอนในภาคหน้าได้หลายเรื่องและได้รู้แนวการสอนหลายวันหลายแบบ
การประเมิน

ผู้สอน

  อาจารย์เป็นคนที่ให้ความรู้แบบเราต้องคิดตามไม่บอเด็กทุกอย่างแต่ให้เด็กคิดเองก่อนแล้วถึงมาอธิบายให้ฟังอีกที

ตัวเอง

   วันนีเขียนแผนดิฉันก็เขียนได้แต่ไม่ได้ดีเท่าไร

เพื่อน

  เพื่อนๆตั้งใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์มากบางครั้งพูดเสียงดังไปบางแต่เพื่อนๆก็กลับมาตั้งใจเรียนเหมือเดิม




วันพฤหัสบดีที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2559


การบันทึกครั้งที่ 14 

วันอังคาร ที่ 8 พฤศจิกายน 2559

เวลาเรียน 13.30 -17.30

ในสัปดาห์นักศึกษากลุ่ม 102 บ่าย วันอังคาร มีภาระกิจทำกิจกรรม

ต้อนรับคณะผู้มาเยี่ยมชมมหาวิทยาลัย คณะศึกษาศาสตร์ เอกปฐมวัย



การบันทึกครั้งที่ 13 

วันอังคาร ที่ 1 พฤศจิกายน 2559

เวลาเรียน 13.30 -17.30

ความรู้ที่ได้รับ

    อาจารย์ได้ให้แต่ล่ะกลุ่มเปิดวิดีโอของเล่นวิทยาศาสตร์มีทั้งหมด 4 กลุ่มดังนี้คือ

 กลุ่มที่ 1 เรื่อง พลังปริศนา

https://www.youtube.com/watch?v=Go9zrFhikS8

กลุ่มที่ 2 เรื่อง ขวดปริศนา

https://www.youtube.com/watch?v=QwkwdmlMres

กลุ่มที่ 3 เรื่อง รถแกนหลอดด้าย

https://www.youtube.com/watch?v=QwkwdmlMres

กลุ่มที่ 4 ลูกข่างนักสืบ

https://www.youtube.com/watch?v=8iXxHIRi72I&t=52s


ใช้ทำงานชิ้นนี้เพื่อเป็นสื่อใช้ในการเรียนการสอ

    ต่อมาอาจารย์ก็ได้ให้นั่งเป็นกลุ่มแล้วก็สอนหน่วยต่างๆที่มีการเรียนรู้คือ คณิต วิทยาศาสตร์ ภาษา ศิลปะ สังคม สุขศึกษา โดยอาจารย์ได้เขียนตัวอย่างและอธิบายให้ฟังและดูแล้วจากนั้นก็ได้ให้แต่ละกลุ่มได้เริ่มเขียน Mind mapping 





ผลงานกลุ่ม นม





การประยุกต์ใช้

การนำเอาวิดีโอที่แต่ล่ะกลุ่มทำมานำเสนอสามารถนำไปใช่ในการสอนเด็กได้โดยไม่ต้องทำเองทุกหน่วยและและลงมือทำเองทุกขั้นตอน
การประเมิน

ผู้สอน

วันนี้อาจารย์ได้ให้ทุกกลุ่มอออกมานำเสอนวีดีโอกานสอนและให้คำแนะนำในการทำและควรใส่อะไรเพิ่มในการทำวีดีโออันต่อไปเพื่อจะได้ดีมากขึ้น และในการทำงานกลุ่มอาจรย์ได้ใช้คำแนะนำทุกกลุ่มเป็นอย่างดี

ตัวเอง

   รับฟังข้อเสนอแนะของอาจารย์และจะนำไปรับใช้ในงานต่อไป

เพื่อน
   เพื่อนทุกคนตั้งใจฟังอาจารย์และทำงานกลุ่มกันด้วนความสงบ




การบันทึกครั้งที่ 12 

วันอังคาร ที่ 25 ตุลาคม 2559

เวลาเรียน 13.30 -17.30
ความรู้ที่ได้รับ

    นำเสนอมายแมบปิ้งในแต่ละกลุ่มที่คิดหัวข้อจากอาทิตย์ที่ผ่านมา

กลุ่มที่ 1 ส้ม



กลุ่มที่ 2 ไก่




กลุ่มที่ 3 ข้าว




กลุ่มที่ 4 กล้วย




กลุ่มที่ 5 น้ำ



กลุ่มที่ 6 นม



 ต่อไปเรียน 8 กลุ่มสารระของวิทยาศาสตร์เพื่อดูว่าแต่ละกลุ่มแต่ละหน่วยนั้นสามารถนำสาระที่ 1 - 8 มาประยุกต์นำมาใช้ได้แค่บางกลุ่มสาระไม่จำเป็นต้องนำมาทั้ง 8 สาระก็ได้



การประยุกต์ใช้

   การที่อาจารย์ให้ทำมายแมบปิ้งนั้น คือจะต้องมีหัวข้อหลัก หัวข้อย่อย การกระจายและมีการเพิ่มเติม มีสีสรรค์ อ่านง่าย และกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์นั้น สาระต่างๆสามารถนำไปใช้กับเด็กๆได้ในวันที่เราเป็นครูและนำมาปรับปกับจัดกิจกรรมอื่นๆได้อีก


การประเมิน

ผู้สอน

   อาจารย์สอนเรื่องการทำมายแมบปิ้ง ว่าต้องทำอย่างงัยที่ถูกต้องและต้องวนทางไหน ทำให้นักศึกษานำไปใช้ในวิชาอื่นๆได้อีกหลายวิชาและอาจารย์ยังคงสอบแบบใช้นักศึกษามาส่วนรวมและอาจารย์จะมาอธิบายในที่สุด

ตัวเอง

   ในวันนี้ดิฉันก็ตั้งใจฟังและคิดตารมที่อาจารย์สอนไปด้วย


เพื่อน

   เพื่อนๆตั้งใจเรียนมากในวันนี้อาจารย์ถามอะไรก็สามารถบอกและตอบได้







วันเสาร์ที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 11
วันอังคาร ที่ 18 ตุลาคม 2559
เวลาเรียน 13.30 -17.30

ไม่ได้มาเรียนเนื่องจากไม่สบาย 


วันอังคารที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2559


การบันทึกครั้งที่ 10
วันอังคาร ที่ 11 ตุลาคม 2559
เวลาเรียน 13.30 -17.30

ความรู้ที่ได้รับ

- ช่วงต้นชั่วโมงอาจารย์ได้ให้นักศึกษาทำลำดับขั้นตอนSTEM


 

 จับกลุ่มกันพูดคุยการทำงานที่เน้นการจัดประสบการณ์ ของเล่นที่เด็กสามารถทำตามเราได้และไม่ยุ่งยากมากเกินไป และนำไปลงใน Youtube

 

  กลุ่มของเราใช้ชื่อว่า  "ลูกข่างนักสืบ"
เป็นการทำลูกข่างจากแผ่นซีดี สามารถใช้ได้ทั้งสองด้าน
-ขั้นตอน
เราก็ถามเด็กๆว่ารู้จักไหม
ให้เด็กๆดูว่าข้างหน้านั้นมีอะไรบ้าง เอามาทำอะไรได้บ้าง

-จากนั้นก็จะเป็นการออกไปนำเสนอผลงานกลุ่ม

 



 การประยุกต์ใช้
 สามารถนำสื่อที่เพื่อนๆทำไเป็นการเรียนการสอนในวันที่เราเป็นครูได้และได้รู้ว่าสิ่งรองตัวเรา
มีประโยชย์เราสามารถนำมาเป็นสื่อการสอนได้ทุกเรื่อง


การประเมิน

วันนี้ดิฉันได้ออกความคิดเห็นและมีส่วนร่วมกับเพื่อนในกลุมอยางเติมที่
เพื่อนๆตั้งใจทงานันทุกคน

ผู้สอน
 อาจารย์ให้ความรู้่อยางละเอียดและให้เราได้ใช้ความคิดของตนเองก่อนแล้วอาจารย์ค่อยบอกว่าควรปรับตรงไหน







การบันทึกครั้งที่ 9
วันอังคาร ที่ 4 ตุลาคม 2559
เวลาเรียน 13.30 -17.30
ความรู้ที่ได้รับ
- วันนี้มีรุ่นพี่ปี5 เอกปฐมวัย ได้มาทำการสอนเป็นกิจกรรม cooking ทาโกะยากิไข่ข้าว
(หน่วย อาหารดีมีคุณค่า)
 

 
พี่ๆเค้านำก่อนเข้าก็เรียนด้วยเพลง  เพลง อาหารดี และ เพลง มือ

เพลง อาหารดี
อาหารดี  นั้นมีประโยชน์
คือผักสด เนื้อหมู  ปู  ปลา
เป็ด ไก่ ไข่นม ผลไม้นานา
ล้วนมีคุณค่า  ต่อร่างกายเรา

เพลง มือ
มือ มือ มือ มือ    มือของฉัน
วางมันไว้บนไหล่   มือน้อยน่ารัก
วางบนไหล่ฉันนี่  มือ มือ มือ มือ
มือของฉันวางมันไว้บนตัก
มือน้อยน่ารัก  วางบนตักฉันเอง
         ตัวอย่างเพลง

ต่อจากเพลงก็เป็นขั้นนำ

        ขั้นนำ
      1.ครูร้องเพลงอาหารดีมีคุณค่าให้ฟัง โดยเป็นการสงบเด็ก
      2.ร้องเพลงตามทีละวรรค
      3.ร้องเพลงตามคุณครู
        -ใช้คำถามทบทวนเนื้อหา
        -ในเพลงนี้มีอาหารที่มีประโยชน์อะไรบ้าง
         -นอกจากในเพลงนี้ยังมีอาหารดีอะไรอีกบ้าง

      ขั้นเสริมประสบการณ์
      ก่อนแนะนำอุปกรณ์ ครูจะถามเด็กก่อน
 
วัตถุดิบ                                           อุปกรณ์

1.               ไข่ไก่    30 ฟอง                     1.               มีด      2   ด้าม

2.               ปูอัด     1  ถ้วยตวง                  2.               เขียง    1  อัน

3.               ข้าว      1  โถ                         3.               จาน     5  ใบ

4.               แครอท      1  หัว                     4.               เตาทาโกะ    2 ตัว

5.               หอมหัวใหญ่     1 หัว                5.               ช้อน       5 อัน
 
6.               มะเขือเทศ     1  ลูก

7.               เครื่องปรุง

8.               มาการีน   1 กระปุก

  •  ถ้าสอนจะต้องถามเด็กๆว่าอันนี้คืออะไร แนะนำถ้าในส่วนที่เด็กๆไม่รู้จักก็จะให้เด็กพูดตามเรา
 แนะนำ  ขั้นตอนเสร็จก็แนะนำขั้นตอนโดยครูจะหั่นให้เด็กดูก่อนแล้วก็หาเด็กให้มามีส่วนร่วมหาตัวแทนและทุกกิจกรรมต้องให้เด็กมีส่วนร่วม
  • ขั้นตอนการทำทาโกะยากิ
1.ใส่แครอท 2 ช้อน หอม 2 ช้อน มะเขือเทศ 2 ช้อน  ปูอัด 1 ช้อน  ข้าว 2 ช้อน
 
2.ใส่ไข่ 1 ฟอง ลงไปในถ้วยและก็ตี แล้วใส่เครื่องปรุงโดยใส่น้ำปลา *ห้ามใส่รสดี หรือสารปรุงแต่งที่
 
มัน      ไม่มีประโยชน์

3.เปิดเครื่องทาโกะยากิ แล้วใส่มาการีลงไป รอให้ละลาย 

4.เมื่อมาการีเดือดแล้วก็หยอดส่วนผสมลงไปในกระทะให้เต็มหลุดพอสุกจะร่อนให้เอียงองศาเล็กน้อย
 
ทำให้ออกมาเป็นลูกกลมๆพอสุกแล้วคีบใส่จานราดด้วยมายองเนส

          ส่วนผสมครูก็แนะนำว่าใส่น้ำปลาเท่าไร ใส่มะเขือเทศ กี่ช้อน

          การทำกิจกรรม cooking ทาโกะยากินั้น ก็แบ่งเป็นฐานๆ มี 4 ฐาน คือ

ฐานที่ 1 วาดรูปวัตถุดิบอุปกรณ์



ฐานที่ 2 เตรียมวัตถุดิบอุปกรณ์





ฐานที่ 3 รวมส่วนผสม



ฐานที่ 4 ลงมือทำทาโกะยากิ




   เด็กจะได้ทำทุกคน ทุกกิจกรรม ทุกฐานทุกโต๊ะต้องมีคุณครูคอยดูแลและเมื่อเราทำกิจกรรมสิ้นสุดแล้วช่วงท้ายพี่ๆหรือคุณครูก็ได้สรุปกิจกรรมที่ได้ทำมาว่า เด็กๆได้อะไรจากกิจกรรมนี้ และมีประโยชน์อะไร

การประยุกต์ใช้

-การทำทาโกะยากิก็มีความเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ เช่น การตั้งสมมุติฐาน  การเปลี่ยนแปลงของสี ความร้อน ต้องคอยถามเด็กอยู่ตลอดเวลา
-ให้เด็กออดไปมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม

การประเมิน

ผู้สอน
-พี่ๆตั้งใจมาให้ความรู้กับน้องมากค่ะ
-รุ่นพี่แต่ละคนมีหน้าที่เป็นของตัวเองและคอยสอนและอธิบายให้นักศึกษาฟังว่าขั้นตอนต่างๆต้องเป็นอย่างไรและก็ให้ทุกคนได้ร่วมมือกันทำกิจกรรม


ตัวเอง
-วันนี้ได้ความรู้ในเรื่องที่ใกล้ๆตัวและได้ประสบการณืใหม่เพิ่มค่ะ

เพื่อน
-เพื่อนตั้งใจเรียนและให้ความร่วมมือดีมากค่ะ


วันจันทร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 8

วันอังคาร ที่ 27 กันยายน 2559

เวลาเรียน 13.30 -17.30

    สอบกลางภาค


วันจันทร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 7
วันอังคาร ที่ 20 กันยายน 2559
เวลาเรียน 13.30 -17.30
ความรู้ที่ได้รับ
    อาจารย์ได้แจกกระดาษ A4 คนล่ะ หนึ่งแผ่น และสีเมจิกคนล่ะหนึ่งด้าม ที่จะนำเอาไปวาดรูปฝามือของตัวเอง เมื่อเราทามฝามือและขีดเสร็จเรียบร้อยแล้วจากนั้นก็จะเป็นการตีเส้นตรง


   จากการวาดภาพอาจารย์จะซื่อให้เห็นว่าการที่จะให้เด็กเล่นไม่ได้ให้เล่นแค่ของเล่นแต่นำสิ่งรอบตัวมาให้เด็กเล่นก็ได้จะได้รู้จักการประยุกตุ์ใช่ในชิวิตประจำวัน

 



 ตัวอย่างของเล่นที่อาจารย์นำมา
 

 



แรงหนีศูนย์กลางและมีเรื่องของแรงพยุง
  จุดศูนย์ถ่วง
  ความหนาแน่น
  แรงยืดหยุ่น
  อากาศมีแรงดันทำให้วัตถุเคลื่อนที่ อากาศมีแรงดันเมื่อเป่า
 เป็นต้น

ตัวอย่างการทดลองของอาจารย์ที่นำมา

จากการทดลอง น้ำพุ เมื่อถือที่สูง น้ำก็จะไหลจากที่สูงลงที่ต่ำ

จากการทดลองคือการใช้กรวยนำน้ำมาใส่เพื่อดูว่าน้ำรักษาระดับไหลจากที่สูงไปสู่ที่ต่ำ 





จากการการทดลอง ตัดดอกไม้แล้วพับเป็น 4 แล้วนำไปลอยน้ำดอกไม่จะค่อยๆบานจนจมไปเองค่ะ

การประยุกต์ใช้

    ทำให้เด็กตั้งสมมติฐานคาดการณ์หลังจากนั้นก็จะทดลองและได้ลงมือทำจริงได้แก้ไขปัญหาเองและหาทางออกได้เองค่ะ

การประเมิน

ผู้สอน
     อาจารย์นำอุปกรณ์การทดลองมาให้นักศึกษาได้ทดลองจริงและทำให้เข้าใจมากกว่าที่อาจารย์อธิบายอย่างเดียว

ตัวเอง
   ตั้งใจทำงานและฟังอาจารย์ตลอดแต่บางครั้งมีเล่นบาง

เพื่อน
  เพื่อนๆตั้งใจเรียนและทำกิจกรรมอย่างมีความอยากรู้อยากเห็นค่ะ