สรุปวิจัยวิทยาศาสตร์เรื่องการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัย
โดยใชกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝกทักษะ
บทนํา
การเรียนวทยาศาสตร ิ เปนการเรยนการแก้ปญหาอยางมีเหตผลุ ซึ่งเรียกวากระบวนการ
ทางวิทยาศาสตรเด็กปฐมวยสามารถเรียนรูกระบวนการวิทยาศาสตรได้โดยครูใชประสบการณการ
คิดและปฏบัติจากการศึกษารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูวิทยาศาสตร พบวาเด็กจะรับรูและคิดถายโยงเปนทิศทางเดียว ไมซับซอน ดังนั้นการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรที่มีความสําคัญตอเด็กปฐมวยในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตรจึงแบงออกเปน 4 ทักษะ คือ ทักษะการสังเกตทักษะการจําแนก ประเภททักษะการสื่อสาร และทักษะการลงความเห็น ซึ่งสอดคลองกับ
สตาคเฮล ดีน่ากลาววา ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรท ี่มีความสําคญสั ําหรับเด็กปฐมวัย ไดแก ทักษะการสังเกต ทักษะการจําแนกประเภท ทักษะการสื่อความหมาย และทักษะการลงความเห็นเชนกัน
เด็กปฐมวัยอายุระหวาง 4 - 5 ปมีลักษณะเฉพาะตวั คอื มีความเชื่อวา ทุกอยางมีชีวีติมีความรูสึกและเชื่อวาทุกสิ่งในโลกมีจุดมุงหมาย และชอบตั้งคําถามโดยใชคําวา “ทําไม”เด็กปฐมวัยจะเรียนรูจากเหตุการณและสิ่งแวดลอมตางๆ รอบตวโดยใช ้ประสาทสมผัสทั้งหา ทําใหเด็กมีประสบการณตรพัฒนาการทางภาษาอยางรวดเร็วชอบซกถามและส ฎรวจสิ่งใหมๆ การพัฒนาเด็กปฐมวัยใหมีความ สามารถในการเรียนรูดวย การใชประสาทสัมผัสทั้งหา คือ การมอง การฟง การดม การชิม และการสัมผัส นําไปเชื่อมโยงกับสงแวดลอมธรรมชาติตางๆ รอบตัวเด็กเปนการกระตนและตอบสนองความสนใจของเด็กการใหโอกาสเด็กสํารวจลงมือกระทํากิจกรรมตางๆ ดวยตนเอง ทําใหเกิดการรับรู ความเขาใจและความคิดรวบยอด นําไปสูการพัฒนาสติปญญา
แบบฝกทักษะเปนเอกสารทสร้างขึ้นเพื่อให ้เด็กไดเตรียมความพรอมด้านสติปญญาและทักษะตางๆ มีรูปแบบ วิธีการ ที่มีแบบแผน กฎเกณฑ โดยมีคําสั่งของแตละกิจกรรมตามเนื้อหาจุดประสงคของแบบฝกแตละเลม ซึ่งเปนแบบฝกเกียวกับภาพครูจะใชประกอบขณะเด็กทํากิจกรรมหรือตอนสรุปการเรียนทั้งนี้เจตนาเพอใช ื่ ในการทบทวน ฝกการขีดเขียน และการสังเกตของเด็ก แบบฝกทักษะไดเนนการใชสมองเปนฐานการเรียนรู ซึ่งการพัฒนานั้นหมายถึงเปนการใชสมองซีกซายและขวารวมกนทั้งงจิตวิทยาเพื่อสรางการรับรูเนื่องจากสมองเปนอวัยวะสําคญของชีวิต มีหนาที่ในการดํารงอยูของชีวติ การคิดและการเรียนรูของมนุษยประกอบดวยสมอง 2 ซีก คือซีกซายและขวาที่ทํางานตอเนื่องกัน สัมพันธกนั สมองซีกซายควบคุมการคิด การวิเคราะหและเหตุผลสวนสมองซีกขวาใชคิดแบบองครวมและสรางสรรค
ความมุงหมายของการวิจัย
ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดตั้งความมุงหมายไวดังนี้
1. เพื่อศึกษาระดับทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยโดยรวมและจําแนกรายทักษะ
หลงการใชกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝกทักษะ
2. เพื่อเปรียบเทียบการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยกอนและหลังการใชกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝกทักษะ
2. เพื่อเปรียบเทียบการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยกอนและหลังการใชกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝกทักษะ
ความสําคญของการวิจัย
ผลการวิจัยครั้งนี้จะเปนขอมูลพื้นฐานเพื่อใหผูเกี่ยวของกับการจัดการศึกษาสําหรับเด็กปฐมวัยใชเป็นแนวทางในการใชแบบฝกทักษะประกอบการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย และเปนแนวทางสําหรับครูในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชสื่อทเป็นแบบฝกท กษะหรือสื่ออื่นๆ
นิยามศัพทเฉพาะ
1. เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กนักเรียนชาย - หญิง ที่มีอายุระหวาง 4 - 5 ปซึ่งกําลังศึกษาอยูระดบอนุบาล
2. การพัฒนา หมายถึง ผลลัพธของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวยที่ไดรับจากการจัดกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝึกหัดทักษะวิทยาศาสตรสาหรับเด็ก
3. ทักษะกระบวนการวทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวยั หมายถึง ความสามารถของเด็กปฐมวัยในการใชความการคนหาความรเพู ื่อหาคําตอบที่เป็ยนองคความรได้ในการวิจัยนี้จําแนกเปน 4 ดาน
4. กิจกรรมการเรียนรู หมายถึง งานการเรียนสําหรับเด็กปฐมวัยที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้นเพื่อใหเด็กไดปฏิบัติการการเรียนรโดยจุดลําดับสาระตามชุดแบบฝกทักษะวิทยาศาสตรนํา เปนขั้นการเตรียมเด็กเขาสูกิจกรรมการเรียนรูประกอบดวยกิจกรรมอยาง
ใดอยางหนึ่งที่มีเนื้อหาสอดคลองกับเรื่องที่จะเรียน ขั้นสอน แบงออกเปน 2 ตอน ตอนที่ 1 จัดกิจกรรมใหเด็กมีความรูความเขาใจ
เกี่ยวกับมโนทัศนของเรื่องที่เรียน และตอนที่ 2 ทําชุดแบบฝกทักษะตามมโนทัศนของเรื่องที่เรียน
รียนเรื่องนั้นๆ
5. ชุดแบบฝกทักษะ หมายถึง แบบฝกทักษะวิทยาศาสตรโดยเนนการใชสมองเปน
ฐานการเรียน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น